หลักการอ่านรหัส และ รูปแบบของรหัส
หลักการอ่านรหัส และ รูปแบบของรหัส
หลัก
สำหรับ
ลักษณะ
ใน
ความ
สำหรับ
ความ
นอก
รหัส EAN/UPC
รหัส EAN/UPC เป็นรหัส แทน ตัว เลข เท่า นั้น แถบ รหัส หนึ่ง ประกอบ ด้วย เลข 8 ตัว หรือ 13 ตัว แต่ ขนาด 13 ตัว เป็น แบบ ที่ ใช้ กัน แพร่ หลาย มาก ที่ สุด แถบ รหัส จะ ขึ้น ต้น และ ลง ท้าย ด้วย รหัส 101 เสมอ ตัว เลข 13 หลัก นี้ จะ ถูก แบ่ง เป็น สาม ส่วน ส่วน แรก ประกอบ ด้วย เลข 2 ตัว ซึ่ง บ่ง บอก ประเทศ ส่วน ที่ สอง ประกอบ ด้วย เลข 4 ตัว บ่ง บอก ผู้ ผลิต และ ส่วน สุด ท้าย ซึ่ง แยก จาก ส่วน ที่ สอง โดย มี รหัส 01010 เป็น ตัว คั่น นั้น จะ บ่ง บอก รหัส ตัว สิน ค้า รหัส แต่ ละ ตัว จะ ใช้ แถบ 7 แถบ แต่ ละ แถบ มี ความ กว้าง ตาย ตัว เท่า กัน โดย แถบ ดำ คือ 1 และ แถบ ขาว คือ 0 รหัส EAN/UPC นี้ เป็น รหัส ที่ ใช้กับสิน ค้า อุปโภค บริโภค และ เป็น ที่ ใช้ กัน แพร่ หลาย ทั่ว โลก
รหัส
ตระกูล "2 ใน 5"
1
2
3
4
5
6
7
8
9
01 0 0 0 1
0 1 0 0 1
1 1 0 0 0
0 0 1 0 1
1 0 1 0 0
0 1 1 0 0
0 0 0 1 1
1 0 0 1 0
0 1 0 1 0
0 0 1 1 0Code Start
Code Stop1 1 0
1 0 12 ใน 5 อุตสาหกรรม สำหรับ
รหัส "2 ใน 5" ซึ่ง ตาม ความ เป็น มา แล้ว เป็น รหัส ชนิด แรก ที่ ถูก ใช้ อย่าง เป็น กิจจะลักษณะ หนึ่ง ตัว รหัส จะ ประกอบ ด้วย แถบ ห้า แถบ ซึ่ง สอง ใน จำนวน นี้ จะ มี ลักษณะ ผิด แผก จาก ที่ เหลือ ซึ่ง เรา จะ ได้ เห็น กัน ต่อ ไป รหัส ใน ตระกูล นี้ ได้ แก่ "2 ใน 5 อุตสาหกรรม ", "2 ใน 5 แมทริกซ์ " และ "2 ใน 5 สอด แทรก " ทั้ง หมด เป็น รหัส แทน ตัว เลข
รหัส "2 ใน 5 อุตสาหกรรม" นั้น แถบ รหัส หนึ่ง จะ มี ความ ยาว ระหว่าง 1 ถึง 32 ตัว ใน รหัส ชนิด นี้ แถบ ดำ เท่า นั้น ที่ ถือ เป็น องค์ ประกอบ ของ แถบ รหัส โดย แถบ ดำ แคบ ถือ เป็น 0 และ แถบ ดำ กว้าง ถือ เป็น 1 รหัส "2 ใน 5 อุตสาหกรรม " นี้ เป็น รหัส ที่ ง่ายต่อ การ พิมพ์ แต่ ว่า ขาด ความ แน่ นอน ใน การ อ่าน ดัง นั้น จึง มี การ เติม เอา อักษร ควบ คุม ที่ ท้าย แถบ รหัส รหัส ชนิด นี้ ใช้ กัน แพร่ หลาย ใน โรง งาน อุตสาหกรรม ต่าง ๆ บน ตั๋วเครื่องบิน และเครื่องแยก จด หมาย
สำหรับรหัส "2 ใน 5 แมทริกซ์ " นั้น แถบ ดำ และ แถบ ขาว ล้วน ถือ เป็น องค์ ประกอบ ของ รหัส หนึ่ง ตัว รหัส ประกอบ ด้วย สาม แถบ ดำ และ สอง แถบ ขาว ระหว่าง รหัส แต่ ละ ตัว จะ มี ช่อง ไฟ คั่น แถบ รหัส จะ ขึ้น ต้น และ ลง ท้าย ด้วย รหัส 10000 เสมอ การ ถือ เอา แถบ ขาว ซึ่ง ก็ คือ พื้น ที่ ที่ ใช้ ใน การ พิมพ์ รหัส เข้า เป็น ส่วน หนึ่ง ของ รหัส ทำ ให้ รหัส ชนิด นี้ กิน เนื้อ ที่ น้อย กว่า รหัส ชนิด แรก จาก 28 ถึง 33 เปอร์เซ็นต์ ข้อ เสีย คือ ความ ต้าน ทาน ต่อ ความ ผิด พลาด จะ ลด ต่ำ ลง
รหัส "2 ใน 5 สอดแทรก " นั้น อาจ ถือ ได้ ว่า เป็น รหัส ที่ น่า สน ใจ ที่ สุด ใน รหัส ตระกูล นี้ ใน รหัส ชนิด นี้ แถบ ดำ และ ขาว ล้วน ถือ เป็น องค์ ประกอบ ของ รหัส เช่น เดียวกับ "2 ใน 5 แมทริกซ์ " แต่ จะ ไม่ มี ช่อง ไฟ ระหว่าง รหัส และ การ ใส่ รหัส นั้น จะ ทำ ใน ลักษณะ "สอด แทรก " คือ อักษร ตัว แรก จะ ถูก ใส่ รหัส ด้วย รหัส "2 ใน 5 อุตสาหกรรม " โดย ใช้ แถบ ดำ เป็น ตัว ประกอบ แต่ ตัว อักษร ตัว ต่อ มา จะ ถูก ใส่ รหัส ด้วย "2 ใน 5 อุตสาหกรรม " ที่ ใช้ คราว นี้ แถบ ขาว เป็น ตัว ประกอบ แถบ ขาว ที่ ได้ มี ห้า แถบ ด้วย กัน คือ แบ่ง เป็น สอง แถบ กว้าง และ สาม แถบ แคบ ซึ่ง จะ ถูก แทรก เข้า สลับกับแถบ ดำ ห้า แถบ ที่ ได้ จาก การ ใส่ รหัส ตัว อักษร แรก แถบ รหัส ของ "2 ใน 5 สอด แทรก " นี้ จะ ขึ้น ต้น ด้วย รหัส 0000 และ ลง ท้าย ด้วย รหัส 100 เมื่อ เทียบกับรหัส "2 ใน 5 อุตสาหกรรม " รหัส ชนิด นี้ ให้ ความ หนา แน่น มาก กว่า จาก 36 ถึง 42 เปอร์เซ็นต์ และ จาก 10 ถึง 12 เปอร์เซ็นต์ เมื่อ เทียบกับรหัส "2 ใน 5 แมทริกซ์ " มัน จึง เป็น ที่ ใช้ กัน อย่าง แพร่ หลาย ใน วง การ อุตสาหกรรม รหัส 39
รหัส 39 เป็นรหัส ชนิด แรก ที่ ใช้ แทน ตัว อักษร ด้วย ปัจจุบัน ได้ มี รหัส ซึ่ง ขยาย จาก รหัส 39 แล้ว คือ รหัส 128 รหัส 39 นั้น ประกอบ ด้วย สัญลักษณ์ 43 ตัว (เดิม 39 ตัว) ซึ่ง แบ่ง เป็น พยัญชนะ 26 ตัว ตัว เลข 10 ตัว และ อักษร พิเศษ ที่ เหลือ รหัส 39 นี้ สามารถ ถือ เป็น รหัส "3 ใน 9) เพราะ หนึ่ง ตัว รหัส ประกอบ ด้วย 9 ตัว ประกอบ โดย สาม ตัว ใน นั้น จะ เป็น แถบ กว้าง และ อีก สอง ตัว จะ เป็น แถบ แคบ หนึ่ง แถบ รหัส จะ มี หนึ่ง ถึง สาม ตัว อักษร เท่า นั้น ซึ่ง ตาม ด้วย Check digit ดัง นั้น รหัส 39 จึง มี ความ แน่ นอน ใน การ อ่าน สูง แต่ เปลือง เนื้อ ที่ รหัส ชนิด นี้ มี ใช้ กัน มาก ใน อุตสาหกรรมอิเล็คทรอ นิค โดย ใช้ ใน การ แยก ชนิด แผง วง จร Codabar
Codabar เป็นรหัส สำหรับ ตัว เลข และ มี ความ ยาว ของ แถบ รหัส จาก 1 ถึง 32 ตัว เป็น รหัส ที่ ใช้ ใน ธนาคาร เลือด ของ สหรัฐ อเมริกา และ ใน อุตสาหกรรม ยา และ ทางการ แพทย์ หนึ่ง ตัว รหัส ประกอบ ด้วย 7 บิท ซึ่ง แบ่ง เป็น 4 แถบ ดำ และ 3 แถบ ขาว แถบ ดำ หรือ ขาว ที่ แคบ แทน 0 และ แถบ ดำ หรือ ขาว กว้าง แทน 1 รหัส
ใน ตระกูล อื่น
นอกเหนือ จาก รหัส ที่ กล่าว แล้ว ยัง มี รหัส อื่น ๆ ที่ เรา สามารถ พบ เห็น ได้ เพียง แต่ ว่า ไม่ เป็น ที่ แพร่ หลาย เท่า พวก แรก เท่า นั้น รหัส เหล่า นี้ ได้ แก่ รหัส 128, รหัส "2 ใน 7" และ รหัส 11
รหัส 128 เป็นรหัส ที่ ใหม่ มาก มัน ประกอบ ด้วย ชุด ตัว อักษร 128 ตัว ของ แอ สกี (ASCII) รหัส ชนิด นี้ เป็น รหัส ต่อ เนื่อง และ ให้ ความ แน่ นอน ใน การ อ่าน สูง มาก ส่วน รหัส "2 ใน 7" เป็น รหัส ชนิดโมดูเลชัน ตาม ความ กว้าง สำหรับ แทน ตัว เลข และ อักษร พิเศษ 6 ตัว คือ $-: /. และ + ความ กว้าง ของ แถบ ใน รหัส ชนิด นี้ ไม่ ได้ ถูก กำหนด ไว้ เพียง ขนาด เดียว แต่ มี ถึง 18 ขนาด ให้ เลือก ใช้ สามารถ ให้ ความ หนา แน่น ได้ ถึง 11 ตัว อักษร ต่อ นิ้ว แต่ ว่า มี กฎ เกณฑ์ ที่ ซับ ซ้อน จึง ไม่ เป็น ที่ นิยม ใช้ กัน มาก นัก และ สุด ท้าย รหัส 11 เป็น รหัส ตัว เลข เช่น กัน มี ลักษณะ ใกล้ เคียงกับรหัส "2 ใน 5 แมทริกซ์ " หนึ่ง รหัส ประกอบ ด้วย 3 แถบ ดำ และ 2 แถบ ขาว
รหัส 11 นี้ให้ ความ หนา แน่น สูง มาก เนื่อง จาก ว่า มี การ ออก แบบ ให้ สัด ส่วน ของ แถบ กว้าง ต่อ แถบ แคบ ดี ที่ สุด ใน แต่ ละ รหัส แต่ ผล ก็ คือ ความ ซับ ซ้อน ซึ่ง ทำ ให้ สู้ แบบ "2 ใน 5" ไม่ ได้